เคล็ด (ไม่) ลับ แก้กรรมด้วยตนเอง
ผู้เขียน: พินิจ จันทร
สำนักพิมพ์: เพชรพินิจ
หมวดหมู่: ศาสนา/ปรัชญา
จำนวนหน้า: 192 หน้า
ขนาด: 14.5 x 21 x 1.1 cm.
ประเภทปก: อ่อน
พิมพ์: 2 สี
ประเภทกระดาษ: กระดาษปอนด์ 100 แกรม
Code: 9786165783217
รายละเอียด:
ความหมายของ "กรรม" ในพุทธศาสนา ถ้าไม่มีเจตนาไม่เรียกว่ากรรม ดั่งที่พระพุทธองค์ได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราขอบอกว่าเจตนาคือกรรม เมื่อมีเจตนาแล้ว คนเราก็ลงมือกระทำการด้วยกาย ด้วยวาจา และด้วยใจ (คือ กรรรม) เรื่องกรรมนี้มีความละเอียดอ่อนลึกซึ้งมาก โดยแบ่งตามที่กระทำเอาไว้ได้ 3 ทางคือ 1. กายกรรม ได้แก่ การกระทำทางกาย เช่น ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม 2. วจีกรรม ได้แก่ กระทำทางพูดจา ได้แก่ พูดเท็จ พูดหยาบ พูดส่อเสียด และพูดเพ้อเจ้อ 3. มโนกรรม คือ กรรมที่เกิดจากความคิด ได้แก่ โลภ โกรธหลง ซึ่งข้อท้ายนี้มีความสำคัญ ทั้งนี้ ถ้าทำร้ายคนหรือสัตว์ ทุกคนรู้ว่าเป็นบาปกรรม แต่การคิดร้ายอยู่ในใจแท้ ๆ ไม่มีใครรู้ไม่น่าจะมีข้อเสียอะไร แต่ในทางพุทธศาสนาก็ถือว่าเป็นกรรม โดยสรุป "กรรม" ก็คือ การกระทำไม่ว่าจะด้วยกาย วาจาใจ ดังนั้น แก้กรรม ก็คือ แก้การกระทำ
ความหมายของ "กรรม" ในพุทธศาสนา ถ้าไม่มีเจตนาไม่เรียกว่ากรรม ดั่งที่พระพุทธองค์ได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราขอบอกว่าเจตนาคือกรรม เมื่อมีเจตนาแล้ว คนเราก็ลงมือกระทำการด้วยกาย ด้วยวาจา และด้วยใจ (คือ กรรรม) เรื่องกรรมนี้มีความละเอียดอ่อนลึกซึ้งมาก โดยแบ่งตามที่กระทำเอาไว้ได้ 3 ทางคือ 1. กายกรรม ได้แก่ การกระทำทางกาย เช่น ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม 2. วจีกรรม ได้แก่ กระทำทางพูดจา ได้แก่ พูดเท็จ พูดหยาบ พูดส่อเสียด และพูดเพ้อเจ้อ 3. มโนกรรม คือ กรรมที่เกิดจากความคิด ได้แก่ โลภ โกรธหลง ซึ่งข้อท้ายนี้มีความสำคัญ ทั้งนี้ ถ้าทำร้ายคนหรือสัตว์ ทุกคนรู้ว่าเป็นบาปกรรม แต่การคิดร้ายอยู่ในใจแท้ ๆ ไม่มีใครรู้ไม่น่าจะมีข้อเสียอะไร แต่ในทางพุทธศาสนาก็ถือว่าเป็นกรรม โดยสรุป "กรรม" ก็คือ การกระทำไม่ว่าจะด้วยกาย วาจาใจ ดังนั้น แก้กรรม ก็คือ แก้การกระทำ
ส่วนลด 20%
ประหยัด ฿39
฿195 ฿156